ประจำวันจันทร์ที่ 20 เมษายน 2558
>>>>>>>> ความรู้ที่ได้รับในวันนี้ <<<<<<<
ต้นคาบกิจกรรมการร่วมตอบคำถามจิตวิทยา
แบบทดสอบที่คุณกำลังจะเล่นต่อไปนี้
สามารถทดสอบบางเรื่องที่คุณไม่เคยรู้มาก่อน
เลย ดังนั้น
จงซื่อสัตย์กับจนเองขณะเล่นเกม โดยตอบความคิดแรกที่ปรากฏขึ้นมาในใจคุณเห
ลังจากที่อ่านโจทย์เสร็จแล้วทันที
เริ่มกันเลย...
2. ถึงตาคุณแล้ว! ครูฝึกพาคุณมาที่ประตู จากนั้น คุณพุ่งตัวออกไปในอากาศเบื้องหน้า ลมแรงพุ่งมาปะทะหน้า ขณะที่คุณดิ่งตัวลงมาจากความสูงกว่าหมื่นฟุต คุณร้องว่าอย่างไร ขณะกำลังดิ่งลงสู่พื้นเบื้องล่าง?
3. คุณลงมาถึงพื้นดินอย่างปลอดภัย ในขณะที่คุณกำลังเก็บร่มชูชีพของคุณอยู่ ครูฝึกก็กำลังเดินตรงมาที่คุณพร้อมกับส่งเสียงเรียกคุณ ครูฝึกพูดอะไรกับคุณ ? และคุณตอบอะไร ?
เอาล่ะ ตอบเสร็จแล้วมาอ่านเฉลยกัน
1. อารมณ์ที่คุณกำลังรู้สึกขณะที่กระโดดอยู่ เป็นสิ่งที่วัดระดับความปรารถนาในเรื่อง
sex เช่น คุณอาจจะพูดว่า มันต้องสนุกแน่เลย
2. คำพูดที่คุณตะโกนออกมานั้น หมายถึง สิ่งที่คุณจะพูดเมื่ออารมณ์ของคุณถึงจุดสุดยอด คุณพูดว่า "โอว์! แม่จ๋า" หรือเปล่า
3. คำพูดที่ครูฝึกพูดกับคุณ คือสิ่งที่คุณคิดว่าคู่ของคุณจะพูดหลังการร่วมรัก !! และคำ
พูดที่คุณพูดกับครูฝึกหมายถึง สิ่งที่คุณพูดกับคู่รักของคุณนั่นเอง
1.เป้าหมาย
- การช่วยให้เด็กเเต่ละคนได้เรียนรู้
- มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
- ให้เด็กรู้สึกว่า ฉันทำได้
- พัฒนาความระตือรือร้น
- อยากสำรวจ อยากทดลอง
- ต้องมีก่อนการเรียนรู้อื่น
- จดจ่อในช่วงเวลาหนึ่งได้นานพอสมควร
- นิทานไม่ยาวมากนัก สั้นกระฉับ มีสีสันสวยงาม เน้นรูปภาพมากกว่าตัวหนังสือ
3.การกระทำตามคำสั่ง ตามคำเเนะนำ
4.การรับรู้ความเคลื่อนไหว
- ตา : มอง
- หู : ฟัง
- ลิ้น : ชิมรส
- จมูก : ดมกลิ่น
- ผิวสัมผัส :สัมผัส
5.การควบคุมกล้ามเนื้อเล็ก
- การกรอกน้ำ ตักทราย
- ต่อบล็อก
- ศิลปะ
- มุมบ้าน
- ก่ารช่วยเหลือตนเอง
กรรไกรที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับเด็กพิเศษ |
ลองทายกันซิจ๊ะ....ว่ากรรไกรไหนเหมาะกับเด็กปฐมวัย
เฉลย.....หมายเลข 1 จ้า........เพราะ จับง่าย ถนัดมือ ปลายกรรไกรไม่แหลม ขนาดเล็กเหมาะกับมือเด็ก.....ในการตัดกระดาษนั้นครูควรเป็นคนจับกระดาษแล้วให้เด็กเป็นคนตัด.....การตัดควรให้ตัดให้ขาดภายในครั้งเดียว....เด็กจะสามารถรู้สึกว่าเขาก็ทำได้
กิจกรรมบำบัดเด็กพิเศษ |
6.ความจำ
- จำชื่อเพื่อน ครู พ่อแม่
- จำการการสนทนา
- จำจากการใช้ชีวิตประจำวัน
- จำตัวละครในนิทาน
- เล่นเกมปริศนาของที่หายไป
- จัดกลุ่มเด็ก
- เริ่มต้นการเรียนรู้ในระยะเวลาสั้นๆ
- ออกคำสั่งหรือบอกให้เด็กทำอย่างชัดเจน
- ติดเด็กตามที่นั่ง
- ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
- บันทึกสิ่งที่เด็กชอบ สิ่งที่เด็กสนใจ
- รู้ว่าเมื่อไหร่ควรเปลี่ยนงาน
- มีอุปกรณ์สำรองไว้ใกล้มือ
- เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมในการทำกิจกรรม
- พูดในเชิงบวกมากกว่าเชิงลบ
- จัดกิจกรรมให้เด็กได้เคลื่อนไหว
- จัดรูปแบบกิจกรรมให้สนุกสนาน
>>>>> การนำไปประยุกต์ใช้ <<<<<<
นำไปประยุกต์เเละเป็นเเนวทางในการในการจัดแผนการเรียนรู้สำหรับเด็กพิเศษให้เหมาะสมกับประเภทระดับพัฒนาการและความบกพร่องของเด็กพิเศษ
>>>>> การประเมินหลังการสอน <<<<<<
ประเมินตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา เข้าใจเนื้อหาและให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมในห้องเรียน
ประเมินเพื่อน : มาเรียนตรงเวลา กล้าเเสดงออก ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมในชั้นเรียน
ประเินอาจารย์ : เข้าสอนตรงเวลา เเต่งกายสุภาพเหมาะสม แนะนำ - อธิบายเนื้อหาที่เรียนโดยละเอียดพร้อมให้คำปรึกษาและคำเเนะนำเกี่ยวกับพฤติกรรมเด่นเเละด้อยของเด็กพิเศษ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น