วันเสาร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558


บันทึกอนุทินครั้งที่5 

ประจำวัน จันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์  พ.ศ 2558



ความรู้ที่ได้รับในวันนี้>>>>>>>>>>>
กิจกรรมต้นชั่วโมง....วาดมือ ซ้าย(ใส่ถุงมือ)-ขวา(ไม่ใส่ถุงมือ) ขออวดผลงานหน่อยค่ะ (บางทีหนูควรไปเรียนวาดรูปเพิ่มเติมก็น่าจะดีนะค่ะว่าไหม)อิอิอิ <<<<<<<<<<<









คำแนะนำเเละเเนวทางความเป็นครู






    >>>>>>>>เนื้อหาในวันนี้,...มีอะไรบ้างมาดูกัน >>>>>>>>>>>>

เรื่อง.....การสอนเด็กพิเศษเเละเด็กปกติ 





ทักษะของครูและทัศนคติ


การฝึกเพื่อเติม

  1.  อบรมระยะสั้น , สัมมนา
  2. สื่อต่างๆ

การเข้าใจภาวะปกติ

  1. เด็กมักคลายคลึกกันมากกว่าเเตกต่างกัน
  2. ครูต้องเรียนรู้เกี่ยวกับตัวเด็ก
  3. รู้จักเด็กเเต่ละคน
  4. มองเด็กให้เป็น" เด็ก " 
ความพร้อมของเด็ก

  1. วุฒิภาวะ
  2. เเรงจูงใจ
  3. โอกาส
  4. เชื่อใจ
การสอนโดยบังเอิญ

  • เด็กเป็นฝ่ายเริ่มก่อน
  • เด็กเข้ามาหาครูมากเท่าไหร่ยิ่งมีโอกาสสอนมากเท่านั้น
อุปกรณ์

  1. มีลักษณะง่าย
  2. ใช้ประโยชนืได้หลายอย่าง
  3. เด็กพิเศษเรียนรุ้จากการสังเกต
  4. เด็กปกติเรียนรู้ที่จะให้ความช่วยเหลือเด็กพิเศษ
ตารางประจำวัน

  • เด็กพิเศษไม่ยอมรับการเปลี่ยนเเปลงสิ่งที่ทำอยู่เป็นประจำ
  • กิจกรรมต้องเป็นลำดับเเละทำนายได้
  • เด็กจะต้องรู้สึกปลอดภัยและมั่นใจ
  • คำนึงถงความเหมาะสมของเวลา
  • สลับกิจกรรม หนัก-เบา เพื่อสร้างความสมดุลในกิจกรรม
ทัศนคติของครู

  • มีความยืดหยุ่น : ในการสอน เป้าหมาย ขอบเขตความสามารถของเด็ก
  • การใช้สหวิทยาการ : ใจกว้างต่อคำแนะนำของบุคลในอาชีพอื่นเเละสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบำบัดกับกิจกรรมในห้องเรียน


การเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้

เทคนิคการเสริมเเรงในเด็กปฐมวัย



 


  1. ครูต้องเริมเเรงทันทีเมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
  2. ครูต้องระเว้นความสนใจทันทีเมื่อเด็กมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
  3. ครูควรให้ความนใจนานเท่าเด็กที่มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
ขั้นตอนในการเสริมเเรง
  1. สังเกตเเละกำหนดจุดมุ่งหมาย
  2. วิเคราะห์งานเเละกำหนดจุดประสงค์ย่อยๆในงานเเต่ละชิ้น
  3. สอนจากง่ายไปยาก
  4. ให้เเรงเสริมทันทีเมื่อเด็กทำได้/เมื่อเด็กพยายามอย่างเหมาะสม
  5. ลดการบอกบท
  6. ให้เเรงเสริมเฉพาะพฤติกรรมที่ใกล้เคยงจุดมุ่งหมายที่สุด
  7. ทีละขั้น ไม่เร่งรัด
  8. ไม่ดุหรือตี
การเเนะนำหรือบอกบท (Prompting)

  • ย่อยงาน
  • ลำดับความยากง่ายของงาน
  • การลำดับงานเป็นการเสริมเเรงเพื่อให้เด็กค่อยๆก้าวไปสู่ความสำเร็จ
  • การบอกบทจะค่อยๆน้อยลงตามลำดับ
การประยุกต์ใช้
  1. นำเทคนิคการเสริมเเรงไปช่วยเป็นเเรงกระตุ้นให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้นอย่างเป็นลำดับขั้นเเละเป็นระบบ
  2. ปรับทัศนคติของตนเองที่มีต่อเด็กพิเศษให้เหมือนเด็กปกติ
  3. ใช้จุดบกพร่องต่อเติมซึ่งกันเเละกัน(เด็กพิเศษ+เด็กปกติ)
  4. เรียลลำดับการเรียนรู้จากง่ายไปหายากตามลำดับ
ประเมินหลังการสอน
ประเมินตนเอง : วันนี้ขออนุญาติอาจารย์ออกห้องเรียนก่อนเวลาเพื่อไปทำโครงการสำรวจ-พัฒนาชุมชนซึ่งในตอนหลังก็มาได้ศึกษางานจากเพื่อนอีกที
ประเมินเพื่อน : เพื่อมีน้ำใจช่วยอธิบายเนื้อหาส่วนที่ไม่ได้เรียนให้ฟังอย่างละเอียด
ประเมินอาจารย์ : ต้นคาบอาจารย์อธิบายเนื้อหาได้อย่างชัดเจนเเละเข้าใจง่าย ยกตัวอย่างในสิ่งที่สามารถพอเจอได้จริงในชีวิตประจำวัน ท้ายคาบเรียนอาจารย์ใจดีอนุญาติให้ออกมาก่อนเวลาเลิกเรียนได้เพื่อไปทำโครงการพัฒนาชุมชน
















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น